วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556

เหตุ...ผล


     จากเหตุการณ์ที่ผ่านมาทุกยุคทุกสมัย..หากนำมาพิจาณาก็น่าจะเข้ากันได้กับรูปภาพด้านบนนี้ พุทธองค์ทรงค้นพบมากว่า ๒๕๐๐ ปีแล้ว....คนๆหนึ่งไม่ว่าจะเรียกอย่างไร " วีรบุรุษ " หรือ "ทรราช" ...สุดท้ายแล้วก็หนีไม่พ้น " สังสารจักร "นี้ได้..
    @ กิเลส ที่เป็นตัวการให้คิดปรุงแต่งยึดเยื้อพิสดาร เกิดปัญหาต่าง ๆ มากมาย เช่น 
    ๑.ตัญหา คือความทะยานอยาก ความอยากได้อยากเอา  
    ๒.ทิฏฐิ ความคิดเห็นความเชื่อ อุดมการณ์ๆต่างที่ยึดถืออย่างงมงาย ไม่ยอมรับฟังใคร คิดเตลิดไปข้างเดียว ตลอดจนเป็นเหตุแห่งการเบียดเบียนบีบคั้นผู้อื่นที่ไม่ถืออย่างตน
    ๓.มานะ  ความถือตัว ความสำคัญตนว่าเป็นนั่นเป็นนี่ ถือสูงถือต่ำ ยิ่งใหญ่เท่าเทียมหรือด้อยกว่าผู้อื่น ความอยากเด่นอยากยกชูตนให้ ยิ่งใหญ่
    @ กรรม การกระทำไม่ว่าดี ชั่ว ทำอะไรโดยมีเจตนา คือจงใจทั้งที่รู้ย่อมเป็นกรรม
    @ วิบาก  คือผลที่มาจากกาลก่อน ผลดีเกิดจากการทำดี  ผลชั่วเกิดจากการทำชั่ว
    พุทธองค์ทรงเป็นผู้นำทางที่แสดงให้เห็นแล้ว หากเราฝึกตนด้วยดี ดังที่ทรงบำเพ็ญเป็นแบบอย่าง โดยเชื่อเรื่อง กรรม เชื่อเรื่องผลของกรรม  เชื่อว่าสัตว์บุคคลมีกรรมเป็นของตนเอง แต่ละคนเป็นเจ้าของต้องเสวยวิบากไปตามกรรมของตน แล้วฝึกตนด้วยดีก็สามารถเข้าถึงภูมิธรรมที่สูงสุดบริสุทธิ์หลุดพ้นได้
    (อ้างอิง: จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตฺโต)
*******

From past events in every era..if taken into consideration, it should be compatible with the picture above.  The Lord Buddha discovered more than 2500 years ago....that a person, no matter how he is called a "hero" or a "tyrant"...in the end, cannot escape this "Samsara Chakra"..

    @ Defilements that are the cause of thoughts and manipulations that cling to strange tissues.  There are many problems such as 

1. Problem is desire.  Desire to take

2. Views, opinions, beliefs.  Various ideologies that are held ignorantly  Don't listen to anyone  Thinking sideways  As well as being a cause of oppression and oppression of others who do not share their views.

    3. Mana  self-conceit.  The importance of oneself being this or that, being considered high or being considered low, being as great as or inferior to others.  The desire to stand out, to exalt oneself to greatness.

  @ Karma, any action, whether good or bad, is done with intention.  That is, knowingly doing it intentionally is karma.

  @ Vipaka  is the result of a past time.  Good results come from doing good things.  Evil results come from doing bad things.

The Buddha is a demonstrated guide.  If we train ourselves well  As he served as an example  By believing the story  Karma believes in the results of karma. It is believed that living beings have their own karma.  Each owner must experience the suffering according to his own karma. Then, with good training, one can reach the highest, pure, liberating Dhamma landscape.

​   (Reference: From the Buddhist Dictionary  Dhamma compilation edition  Phra Phromkhunaporn P.A.Payutto)


2 ความคิดเห็น:

  1. วิเชียร มามีเกตุ 94417 พฤศจิกายน 2556 เวลา 13:14

    สาธุ

    ตอบลบ
    คำตอบ
    1. สวัสดีครับ วิเชียร มามีเกตุ...อนุโมทนา ด้วยครับ..พยายามรักษา"ลมหายใจ เข้า - ออก" ไว้นะครับ...ขอบคุณที่ทักทายครับ

      ลบ