...สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่ากายของตน ....สักกายทิฏฐิ ๒๐ ...เป็น ๒๐ อย่างไร ก็คือ เห็นว่าขันธ์ ๕ เป็นตน คือเห็นว่า รูปเป็นตน เวทนาเป็นตน สัญญาเป็นตน สังขารเป็นตน วิญญาณเป็นตน ก็ได้ ๕ ข้อ เห็นว่าตนมีขันธ์ ๕ คือเห็นว่า ตนมีรูป ตนมีเวทนา ตนมีสัญญา ตนมีสังขาร ตนมีวิญญาณ ก็ได้อีก ๕ เห็นขันธ์ ๕ ในตน คือเห็นรูปในตน เห็นเวทนาในตน เห็นสัญญาในตน เห็นสังขารในตน เห็นวิญญาณในตน ก็เป็นอีก ๕ เห็นตนในขันธ์ ๕ คือเห็นตนในรูป เห็นตนในเวทนา เห็นตนในสัญญา เห็นตนในสังขาร เห็นตนในวิญญาณ ก็เป็นอีก ๕ ห้าสี่หนก็เป็น ๒๐ จึงเรียกว่าสักกายทิฏฐิ ๒๐ ความเห็นว่ากายของตน ๒๐ ...(สมเด็จพระญาณสังวร)
วันอาทิตย์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2556
สัมมาทิฏฐิสูตร(๑๒)
...สักกายทิฏฐิ ความเห็นว่ากายของตน ....สักกายทิฏฐิ ๒๐ ...เป็น ๒๐ อย่างไร ก็คือ เห็นว่าขันธ์ ๕ เป็นตน คือเห็นว่า รูปเป็นตน เวทนาเป็นตน สัญญาเป็นตน สังขารเป็นตน วิญญาณเป็นตน ก็ได้ ๕ ข้อ เห็นว่าตนมีขันธ์ ๕ คือเห็นว่า ตนมีรูป ตนมีเวทนา ตนมีสัญญา ตนมีสังขาร ตนมีวิญญาณ ก็ได้อีก ๕ เห็นขันธ์ ๕ ในตน คือเห็นรูปในตน เห็นเวทนาในตน เห็นสัญญาในตน เห็นสังขารในตน เห็นวิญญาณในตน ก็เป็นอีก ๕ เห็นตนในขันธ์ ๕ คือเห็นตนในรูป เห็นตนในเวทนา เห็นตนในสัญญา เห็นตนในสังขาร เห็นตนในวิญญาณ ก็เป็นอีก ๕ ห้าสี่หนก็เป็น ๒๐ จึงเรียกว่าสักกายทิฏฐิ ๒๐ ความเห็นว่ากายของตน ๒๐ ...(สมเด็จพระญาณสังวร)
ป้ายกำกับ:
ธรรมทาน,
สมเด็จพระญาณสังวร
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น