หน้าเว็บ
วันเสาร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
สิบสองวันในอินเดีย(๓)
วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
สิบสองวันในอินเดีย(๒)
วันศุกร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
สิบสองวันในอินเดีย(๑)
วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
พุทธคุณ(๘)
วันพุธที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
พุทธคุณ(๗)
วันพฤหัสบดีที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
เหตุ...ผล
From past events in every era..if taken into consideration, it should be compatible with the picture above. The Lord Buddha discovered more than 2500 years ago....that a person, no matter how he is called a "hero" or a "tyrant"...in the end, cannot escape this "Samsara Chakra"..
@ Defilements that are the cause of thoughts and manipulations that cling to strange tissues. There are many problems such as
1. Problem is desire. Desire to take
2. Views, opinions, beliefs. Various ideologies that are held ignorantly Don't listen to anyone Thinking sideways As well as being a cause of oppression and oppression of others who do not share their views.
3. Mana self-conceit. The importance of oneself being this or that, being considered high or being considered low, being as great as or inferior to others. The desire to stand out, to exalt oneself to greatness.
@ Karma, any action, whether good or bad, is done with intention. That is, knowingly doing it intentionally is karma.
@ Vipaka is the result of a past time. Good results come from doing good things. Evil results come from doing bad things.
The Buddha is a demonstrated guide. If we train ourselves well As he served as an example By believing the story Karma believes in the results of karma. It is believed that living beings have their own karma. Each owner must experience the suffering according to his own karma. Then, with good training, one can reach the highest, pure, liberating Dhamma landscape.
(Reference: From the Buddhist Dictionary Dhamma compilation edition Phra Phromkhunaporn P.A.Payutto)
วันพุธที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
อธิปไตย
อธิปไตย ในทางพระพุทธศาสนา มี ๓ ประการ คือ
๑.อัตตาธิปไตย ความมีตัวตนเป็นใหญ่ ถือตนเป็นใหญ่ ผู้เป็นอัตตาธิปกพึงใช้สติให้มาก
๒.โลกาธิปไตย ความถือโลกเป็นใหญ่ ผู้เป็นโลกาธิปกพึงมีปัญญาครองตนและรู้พินิจ
๓.ธัมมาธิปไตย ความมีธรรมเป็นใหญ่ ถือธรรมเป็นใหญ่ กระทำการด้วยความปรารภความถูกต้องเป็นจริง สมควรตามธรรม ผู้เป็นธรรมาธิปกพึงประพฤติให้ถูกหลักธรรม ผู้เป็นหัวหน้าหมู่นักปกครองพึงถือธรรมาธิปไตย......(จากพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตฺโต)
วันอังคารที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
พุทธคุณ(๖)
วันจันทร์ที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
พุทธคุณ(๕)
วันอาทิตย์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
พุทธคุณ(๔)
วันเสาร์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
พุทธคุณ(๓)
..อรหํ ว่าผู้หักกำแห่งสังสารจักร สังสาระ หรือสงสารแปลว่าท่องเที่ยวไป จักร ก็คือ จักกะ หรือ จักกระ ที่แปลว่าล้อ ล้อแห่งเกวียน ล้อแห่งรถ ก็เรียกว่าจักร คือจักกระ หรือจักกะ สังสาระจักรก็คือล้อแห่งการท่องเที่ยวไป หรือว่าล้อที่เป็นเครื่องท่องเที่ยวไป คือล้อที่หมุนนำให้ท่องเที่ยวไป และกำของสังสาระจักร ก็คือกำของล้อแห่งการท่องเที่ยวไปดังกล่าว อันล้อนั้นพระอาจารย์ได้แสดงไว้ว่าย่อมมีดุม มีกำ มีกง นำเข้ามาเทียบกับธรรมะที่ตรัสแสดงในปฏิจจสมุปบาทคือธรรมะที่อาศัยกันบังเกิดขึ้น ท่านเทียบไว้ว่า ดุมก็เปรียบเหมือนอย่างอวิชชา กง ก็เปรียบเหมือนชรามรณะ ดุมคืออวิชชาเป็นต้น กงคือชรามรณะ ซึ่งหมายรวมถึงโสกะปริเทวะเป็นต้นด้วย ก็เป็นเหมือนกงเป็นปลาย ส่วนกำก็เหมือนอย่างปัจจยาการที่เหลือทั้งหมด ระหว่างอวิชชาและชรามรณะ พร้อมทั้งโสกะปริเทวะเป็นต้น...(สมเด็จพระญาณสังวร)