หน้าเว็บ
วันเสาร์ที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
Are decisions changing lives?
"I never decided to become a monk!" Pim exclaimed with a lively smile.
When her future teacher asked her "You say you want to travel the world, but you are scared to shave your head?”, her young spirit couldn't resist the challenge. This is seriously why, at age 33, Pim decided to prove her courage by spending just 3 weeks - she thought back then - in a nascent female Buddhist temple in Chom Thong.
When time was over though, she felt she had only learned to look like a monk and desired a deeper understanding. She kept extending her stay month my month and before she knew it, four years had flown by - yet her longing to explore the world persisted.
The day her teacher prohibited her from traveling abroad and learn new ways toward the Dharma (the truth of the nature of life), Pim took matters into her own hands, left that temple behind and journeyed to Sri Lanka instead.
Surprising was for her that the hard scheduling she had been following in the previous 4 years (waking up at 4 30, eating once per day, no technology allowed) as well as reading books in Pali or Sanskrit were not required by her new teacher. Good usage of technology was also permitted.
Experience and observation of the body and the mind were the way to Dharma.
During the 5 days I volunteered with Pim in the outskirt of Bangkok, she kindly shared with me many lessons learned like focusing only on what we can control and learning by experiencing. The most important one, she said, is: "If you do good things for yourself and others you will be happy."
Her contagious smile was the proof.
Pim´s story made me feel truly thankful for the support I received in the end from my manager, colleagues, even candidates, friends and family when I decided to take a sabbatical and travel around Asia to learn and explore.
Now, while heading to my first vipassana retreat - by coincidence in Chom Thong as well! - I am seriously wondering what impact this experience will have on me and how long it will take for me to decide to leave the temple ;) ...
do you want to make a bet? I say 7 days!
Luckily, shaving my head is not required at all!
*********
Cr.https://www.transformationalvisions.com/post/are-decisions-changing-lives
วันศุกร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
Letting go
In Theravāda Buddhism, emptiness is not a metaphysical entity. It is not an experience to be realized. It is simply absence. Thailand, for example, is empty of icebergs. The most profound kind of emptiness is the absence of attachment to ideas of ‘me’ and ‘mine’.
‘Letting go’ does not mean giving up on something. That would be abandonment, and may be wise or unwise, depending on the context and one’s intention. In Dhamma practice, letting go means letting go of thoughts of ‘me’ and ‘mine’ that arise within an activity or relationship.
Some religious texts assert that the world was created by a deity a few thousand years ago. Most scientific texts trace the origin of the world to a big bang. In the Buddhist, the world is created whenever thoughts of ‘me’ and ‘mine’ appear in the mind. Renouncing all refuge in thoughts of ‘me’ and ‘mine’ is the deepest meaning of the phrase ‘leaving the household life’.
Ajahn Jayasāro
20/2/24
****
ในพุทธศาสนาเถรวาท ความว่างเปล่าไม่ใช่สิ่งที่เลื่อนลอย มันไม่ใช่ประสบการณ์ที่จะต้องตระหนัก มันเป็นเพียงการขาดหายไป ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยไม่มีภูเขาน้ำแข็ง ความว่างเปล่าที่ลึกซึ้งที่สุดคือการไม่มีความผูกพันกับความคิดเรื่อง 'ฉัน' และ 'ของฉัน'
'การปล่อยวาง' ไม่ได้หมายถึงการยอมแพ้ในบางสิ่ง นั่นจะเป็นการละทิ้งและอาจฉลาดหรือไม่ฉลาดก็ขึ้นอยู่กับบริบทและความตั้งใจ ในการปฏิบัติธรรม การปล่อยวาง หมายถึง การปล่อยวางความคิดเกี่ยวกับ 'ฉัน' และ 'ของฉัน' ที่เกิดขึ้นในกิจกรรมหรือความสัมพันธ์
ตำราทางศาสนาบางฉบับยืนยันว่าโลกถูกสร้างขึ้นโดยเทพเมื่อไม่กี่พันปีก่อน ตำราทางวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ติดตามต้นกำเนิดของโลกไปสู่การระเบิดครั้งใหญ่ ในพุทธศาสนา โลกถูกสร้างขึ้นเมื่อใดก็ตามที่ความคิดเกี่ยวกับ 'ฉัน' และ 'ของฉัน' ปรากฏในจิตใจ การละทิ้งที่พึ่งแห่งความคิดเรื่อง "ฉัน" และ "ของฉัน" เป็นความหมายที่ลึกที่สุดของวลี "ละทิ้งชีวิตครอบครัว"
อาจารย์ชยสาโร
20/2/24
****
Cr.https://www.facebook.com/share/p/RuYJP5pZkmrDEHbv/?mibextid=oFDknk
วันพฤหัสบดีที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
วันพุธที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
Miracle on earth
“Imagine two astronauts go to the moon, and while they’re there, there’s an accident and their ship can’t take them back to Earth.
They have only enough oxygen for two days. There is no hope of someone coming from Earth in time to rescue them. They have only two days to live. If you were to ask them at that moment, “What is your deepest wish?”, they would answer, “To be back home walking on our beautiful planet Earth.”
That would be enough for them; they wouldn’t want anything else. They wouldn’t think of being the head of a large corporation, a famous celebrity, or the president of the United States.
They wouldn’t want anything but to be back here – walking on Earth, enjoying every step, listening to the sounds of nature, or holding the hand of their beloved while contemplating the moon at night.
We should live every day like people who have just been rescued from dying on the moon. We are on Earth now, and we need to enjoy walking on this precious, beautiful planet.
Zen Master Linji said, “The miracle is not to walk on water or fire. The miracle is to walk on the earth.” I cherish that teaching. I enjoy just walking, even in busy places like airports and railway stations.
Walking like that, with each step caressing the earth, we can inspire other people to do the same. We can enjoy every minute of our lives.”
~Thich Nhat Hanh
*******
“ลองนึกภาพนักบินอวกาศสองคนไปดวงจันทร์ และในขณะที่พวกเขาอยู่ที่นั่น มีอุบัติเหตุเกิดขึ้น และเรือของพวกเขาไม่สามารถพาพวกเขากลับมายังโลกได้
พวกเขามีออกซิเจนเพียงพอเพียงสองวัน ไม่มีความหวังว่าจะมีคนมาจากโลกทันเวลามาช่วยเหลือพวกเขา พวกเขามีเวลาอยู่เพียงสองวัน หากคุณถามพวกเขาในขณะนั้นว่า “ความปรารถนาลึกที่สุดของคุณคืออะไร” พวกเขาจะตอบว่า “ได้กลับบ้านเดินบนดาวเคราะห์โลกที่สวยงามของเรา”
นั่นก็เพียงพอแล้วสำหรับพวกเขา พวกเขาไม่ต้องการสิ่งอื่นใดอีก พวกเขาไม่คิดว่าจะเป็นหัวหน้าของบริษัทใหญ่ ผู้มีชื่อเสียง หรือประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกา
พวกเขาไม่ต้องการอะไรนอกจากกลับมาที่นี่ ทั้งการเดินบนโลก เพลิดเพลินกับทุกย่างก้าว ฟังเสียงของธรรมชาติ หรือจับมืออันเป็นที่รักขณะใคร่ครวญดวงจันทร์ในเวลากลางคืน
เราควรใช้ชีวิตทุกวันเหมือนคนที่เพิ่งได้รับการช่วยเหลือจากการตายบนดวงจันทร์ ตอนนี้เราอยู่บนโลกแล้ว และเราต้องสนุกกับการเดินบนดาวเคราะห์ที่สวยงามและล้ำค่าใบนี้
อาจารย์เซน ลินจิ กล่าวว่า “ปาฏิหาริย์ไม่ใช่การเดินบนน้ำหรือไฟ ปาฏิหาริย์คือการได้เดินบนโลก” ข้าพเจ้าชื่นชมคำสอนนั้น ฉันสนุกกับการเดินเล่น แม้ในสถานที่ที่มีผู้คนพลุกพล่าน เช่น สนามบินและสถานีรถไฟ
การเดินแบบนั้น โดยแต่ละก้าวที่สัมผัสพื้นโลก เราสามารถสร้างแรงบันดาลใจให้คนอื่นๆ ทำเช่นเดียวกันได้ เราจะเพลิดเพลินไปกับทุกนาทีของชีวิตของเรา”
~ติช นัท ฮันห์
Cr.https://www.facebook.com/share/p/iqT6raYXrU92HBYN/?mibextid=oFDknk
วันอาทิตย์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
วันเสาร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
ธรรมะคืออะไร..
DB 381 เห็นจริง ถึงใจ (3:21 นาที) - พระราชโพธิวิเทศ (หลวงพ่อปสันโน)
#อนิจจัง #ทุกขัง #อนัตตา #ไตรลักษณ์ #ความจริง #ธรรมะ #หลวงพ่อชา #ความถูกต้อง #ความสุข #หลวงพ่อปสันโน #พระราชโพธิวิเทศ
“ … พระพุทธเจ้าเคยสอน เคยพูดว่า
จะมีพระตถาคตเกิดขึ้น หรือไม่เกิดขึ้นก็ตาม
ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกนี้ก็ย่อมเป็น
อนิจจัง ทุกขัง อนันตา
ไม่เที่ยง ย่อมเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด
เป็นทุกข์ คือมันจะให้อิ่มใจ พอใจอยู่ตลอด
เพราะมันได้ตามโลก มันก็เป็นไปไม่ได้
และอนัตตา คือมันไม่สามารถจะเอาอะไร
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องกายก็ดี เรื่องใจก็ดี
เรื่องสิ่งภายนอก็ดี สื่งภายในก็ดี
สิ่งหยาบก็ดี สิ่งละเอียดก็ดี
ทั้งหมดทั้งสิ้นไม่สามารถครอบครองให้เป็นของเรา
หรือเรียกว่า เป็นเรา
ในเมื่อเราเห็นอย่างชัดเจน แล้วยอมรับว่า
เราหนีไม่พ้นจากสภาวะอันนี้ ความเป็นจริงเป็นอย่างนี้
เราก็มีความปีติ อิ่มเอิบในความถูกต้อง
ไหนๆ มันก็เป็นอย่างนี้ จะให้เป็นไปตามที่เราต้องการ
เราหวัง เราปรารถนา เป็นไปตามที่คาดคะเน
ยังไง มันก็เป็นไปไม่ได้
มันต้องเป็นอย่างนี้
เป็นเหตุที่ หลวงพ่อชาท่านเคยถูกถามว่า
ธรรมะคืออะไร
หลวงพ่อตอบว่า ธรรมะคือความถูกต้อง
สั้น แต่ความหมายลึก
เมื่อเรายอมรับความถูกต้อง
ก็เป็นเหตุให้เรายอมเข้าสู่ความถูกต้อง
เมื่อเข้าสู่ความถูกต้อง ก็แสนจะสบาย
มีความสุข
เมื่อไหร่เราไม่อยากให้ความเป็นจริง เป็นอย่างนั้น
อยากให้ความเป็นจริง เป็นไปตามที่เราต้องการ
เออ… เอาเฮอะะ.. ก็มีแต่ทุกข์เท่านั้นแหละ
แต่เมื่อเรายอมรับ และปรับตัวเข้าสู่ความถูกต้อง
มันก็แสนจะสบาย มีความสุข ปลอดโปร่ง
เพราะไม่ได้ทะเลาะกับความจริง
ไม่ได้ขัดขวางกับความจริง มันก็สบาย
เป็นวิธีที่เราฝึกตัวเอง ฝึกจิตใจของเรา
มันก็นำให้จิตใจของเราเข้าสู่ความสุขอยู่เสมอ …”
พระราชโพธิวิเทศ (หลวงพ่อปสันโน)
ณ เสถียรธรรมสถาน
๒๑ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๒
*****
Cr.https://www.facebook.com/share/v/pq4adRonRhXQ8cu4/?mibextid=oFDknk
อิริยาบถ...
ธรรมะอรุณสวัสดิ์...รับวันใหม่
.............................
ในส่วนที่ถือว่าเปรียบเสมือนเป็นกรอบนอก
พระพุทธเจ้าก็แสดงอย่างอื่นไว้อีก
แสดง #อิริยาบถย่อย #อิริยาบถต่างๆ
ให้ระลึกรู้การคู้ การเหยียด การก้ม การเงย
การเหลียวซ้าย แลขวา การมองอยู่
การเคี้ยว การลิ้มรส การดื่ม
การนุ่งห่ม การขับถ่าย
ให้รู้สึกตัวในขณะนั้น ๆ ที่เป็นอิริยาบถย่อยที่มีอยู่
แม้ขณะที่นั่งอยู่ มันก็มีอิริยาบถย่อย
เช่น บางคนก็ยกมือขึ้นมา
ขยับแขนขึ้นมาเกาหัวบ้าง ลูบหน้าบ้าง
บางคนก็เอี้ยวตัว บางคนก็ขยับมือ
มันมีอยู่ตลอด ขยับไปขยับมา
ถ้าไม่ตั้งหลักให้ดีก็จะขยับกันอยู่เรื่อย
เพราะว่ามันมีทุกข์
มันมีทุกข์ แต่ไม่ได้ดูเองว่าทำไมเราต้องขยับ
ที่จริงต้องให้มีเหตุผลไว้ จะได้เห็นเหตุปัจจัย
ถ้าไม่รู้ ก็นั่งนิ่ง ๆ ไปก่อน
#ถ้าจะขยับ #ต้องรู้ว่าเพราะอะไร #ทำไมต้องขยับ
มันจะบอก
ถ้าไม่ดู มันก็ไม่รู้
มันก็มีขยับกันอยู่เรื่อย ๆ
ลองนิ่ง ๆ ดู
เวลาจะขยับ ต้องรู้ก่อนว่าเพราะอะไร
#อะไรเป็นตัวกระตุ้น #เป็นตัวทำให้ต้องขยับ
#มันจะเห็นเหตุ
เช่น มันมีทุกข์
มันมีทุกข์ มันคัน หรือมันเมื่อย มันแน่น
มันก็ต้องขยับ
แต่นี้ส่วนมากเราขยับโดยที่ไม่รู้
ไม่ได้รู้เหตุผลรู้ผล
มันก็จะไปด้วยตัณหา ด้วยความรู้สึก
อยากจะเสวยความสุข อยากจะหนีทุกข์
โดยไม่เห็นทุกข์เห็นอะไร
ไปเอง ไปด้วยตัณหา
#แต่ถ้ารู้ไว้ก่อน
#มันเป็นทุกข์ #จำเป็นต้องแก้ทุกข์
#ขยับก็จะรู้ตัว #ขยับก็ขยับอย่างมีสติ
ฉะนั้นบางสำนักก็จะเน้นเรื่องอิริยาบถย่อย
ให้ลูกศิษย์ยกมือ ขยับมือ ขยับแขน
ดูความเคลื่อนไหวในอิริยาบถย่อยเป็นหลัก
ก็อยู่ในเรื่องของการปฏิบัติกรรมฐาน
#แต่ไม่ได้ให้อยู่แค่นั้น
#ฝึกอย่างนั้นเพื่อให้จิตใจมันอยู่กับตัว
ให้จิตใจมันรู้อยู่กับตัว จนจิตใจมันตื่นรู้ดี
#ก็จะเชื่อมโยงเข้าไปรู้ถึงแกนใน
#เข้าไปรู้ถึงตัวสภาวะ
แขนที่ขยับเขยื้อนเคลื่อนไหว
ตัวสภาวะจริง ๆ มันคือ
ความรู้สึกตึงบ้าง หย่อนบ้าง ไหวบ้างในเนื้อ ในกล้ามเนื้อ
มันมีอยู่
ส่วนความเป็นแขน เป็นมือ เป็นเท้า เป็น
อันนี้มันยังเป็นสมมติ
ตัวสภาวะจริง ๆ ก็จะเป็นความรู้สึกต่าง ๆ
ความไหว ความกระเพื่อม ความสะเทือน
ความรู้สึกสบาย ไม่สบาย
เป็นตัวสภาวะ เป็นแกนใน
รวมทั้งจิตใจ
เคลื่อนมืออยู่ ใจเป็นอย่างไร
ใจเป็นสภาพรู้อยู่ มีใจที่รู้อยู่
กายก็เคลื่อนไหว ใจก็รับรู้
สติก็ระลึกรู้ทั้งไหว ทั้งรู้
รู้กายที่เคลื่อนไหว รู้ใจที่รับรู้
ใจรู้สึกเป็นอย่างไร
สบายใจ ไม่สบายใจ ชอบใจ ไม่ชอบใจ
ก็หัดรู้ไป
เรียกว่าอาศัยเบื้องต้นคือกำหนดอิริยาบถย่อยอยู่
จับก็รู้ ก้มก็รู้ เงยก็รู้ ทำอะไรอยู่ก็รู้
รู้ไปจนกระทั่งลึกซึ้งเข้าไปสู่ถึงแกนใน
ก็จะไปเจอความรู้สึกในกายในใจ
นี่ก็เป็นกรรมฐานแนวทางปฏิบัติ
ธรรมบรรยาย วิถีกรรมฐาน
(ธรรมสุปฏิปันโน ๑๐)
.............................
ธัมโมวาท โดยหลวงพ่อสุรศักดิ์ เขมรังสี
เจ้าอาวาสวัดมเหยงคณ์พระนครศรีอยุธยา
******
Cr.https://www.facebook.com/share/22iWNv7Bp79M6fB8/?mibextid=oFDknk
วันศุกร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
Julia volunteer from Brazil
"I'm a fun&talkative person, that has no idea of its
purpose in life yet, but I love to live different lives in one
if I had to choose 1 thing to believe, maybe it would be: encounters (in
portuguese, my lenguage, this word means more than it does in english, little
deeper, but lets keep going).
an encounter can happen between someone and another someone. but one can also
have an encounter with a place, a feeling, a moment, a sport, a job, or even a
season of the year.
there are countless possible encounters arround the world for each one of us,
and this is what traveling means to me: oppening myself to all of these possibilities
and unimaginable encounters, and being this encounter to the others as well.
for me, travelling is being open to transformation. to developing a new
lifestyle, a new way to relate to nature, food, people. it's being open to be a
new me, as a mix of everything and everyone that life will help me encounter
around, coincidentally (or not)."